EN | TH
19 พฤศจิกายน 2540

การเงินรวม บมจ.ผลิตไฟฟ้าและบริษัทย่อย(แก้ไข) 30 กย.40

บริษัท ผลิตไฟฟ้า จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบกำไรขาดทุนและกำไรสะสมรวม "ยังไม่ได้ตรวจสอบ" หน่วย : พันบาท ประจำไตรมาสสิ้นสุด ประจำงวดเก้าเดือนสิ้นสุด เพียงวันที่ 30 กันยายน เพียงวันที่ 30 กันยายน 2540 2539 2540 2539 รายได้ รายได้จากการขาย(หมายเหตุข้อ 14) 1,869,481 2,062,067 5,615,064 4,113,622 รายได้ค่าบริการ 935 - 5,684 - รายได้อื่น ดอกเบี้ยรับ 211,140 212,351 669,742 665,458 อื่นๆ 21,239 2,781 100,767 14,733 รวมรายได้ 2,102,795 2,277,199 6,391,257 4,793,813 ค่าใช้จ่าย ต้นทุนขาย (หมายเหตุข้อ 15) 720,353 629,584 1,910,817 1,390,942 ต้นทุนบริการ 22,227 - 25,710 - ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร 84,561 85,482 307,690 266,033 ดอกเบี้ยจ่าย 837,574 771,778 2,267,973 1,567,855 ค่าตอบแทนกรรมการ 3,886 2,655 10,890 10,113 ค่าใช้จ่ายอื่น ค่าตัดจำหน่ายขาดทุนจากการใช้ระบบ แลกเปลี่ยนเงินตราแบบลอยตัว รอตัดบัญชี 29,840 - 89,520 - ขาดทุนจากการขายหลักทรัพย์ ในความต้องการของตลาด หุ้นกู้และเงินลงทุนในหน่วย ลงทุนในกองทุนรวม 60,749 - 70,329 - ขาดทุนสุทธิที่ยังไม่ได้เกิดจาก หลักทรัพย์ในความต้องการ ของตลาดและหุ้นกู้ 22,724 9,706 110,094 12,143 อื่นๆ 487 22,307 1,408 70,929 รวมค่าใช้จ่าย 1,782,401 1,521,512 4,794,431 3,318,015 บริษัท ผลิตไฟฟ้า จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบกำไรขาดทุนและกำไรสะสมรวม (ต่อ) "ยังไม่ได้ตรวจสอบ" หน่วย : พันบาท ประจำไตรมาสสิ้นสุด ประจำงวดเก้าเดือนสิ้นสุด เพียงวันที่ 30 กันยายน เพียงวันที่ 30 กันยายน 2540 2539 2540 2539 กำไรก่อนภาษีเงินได้ 320,394 755,687 1,596,826 1,475,798 ภาษีเงินได้ (หมายเหตุข้อ 16) 26,303 179,474 106,911 291,157 กำไรสุทธิ 294,091 576,213 1,489,915 1,184,641 กำไรสะสมยกมา 2,247,710 1,186,969 2,111,092 1,018,541 กำไรสุทธิ 294,091 576,213 1,489,915 1,184,641 หัก การจัดสรรปีก่อน เงินปันผลจ่าย - - (1,040,000) (440,000) หัก การจัดสรรประจำปี โบนัสกรรมการบริษัทและ บริษัทย่อย - (7,327) (19,206) (7,327) กำไรสะสมยกไป 2,541,801 1,755,855 2,541,801 1,755,855 กำไรสุทธิต่อหุ้น (หมายเหตุข้อ 2.7) ประจำไตรมาส บาท 0.56 1.18 ประจำงวดเก้าเดือน บาท 2.86 2.42 ดูหมายเหตุประกอบงบการเงินระหว่างกาลรวม สอบทานแล้ว บริษัท ผลิตไฟฟ้า จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงินระหว่างกาลรวม ประจำไตรมาสและประจำงวดเก้าเดือนสิ้นสุดเพียงวันที่ 30 กันยายน 2540 และ 2539 1. เกณฑ์การเสนองบการเงินรวม งบการเงินระหว่างกาลรวมประจำไตรมาสและประจำงวดเก้าเดือนสิ้นสุดเพียงวันที่ 30 กันยายน 2540 แสดงรายการตามข้อกำหนดในกฎกระทรวงฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2539) ออกตามความในพระราชบัญญัติ บริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ. 2535 ลงวันที่ 25 ตุลาคม 2539 ซึ่งมีผลใช้บังคับสำหรับการจัดทำงบดุลและ บัญชีกำไรขาดทุนของบริษัทมหาชนจำกัด ตั้งแต่รอบระยะเวลาบัญชีซึ่งเริ่มต้นในวันที่ 1 มกราคม 2540 เป็นต้นไป งบการเงินระหว่างกาลรวมเป็นการรวมรายการบัญชีของบริษัทและบริษัทย่อย ดังต่อไปนี้ 30 กันายายน 2540 30 กันยายน 2539 อัตราการถือหุ้น อัตราการถือหุ้น ร้อยละ ร้อยละ บริษัท ผลิตไฟฟ้าระยอง จำกัด 99.99 99.99 บริษัท ผลิตไฟฟ้าขนอม จำกัด 99.99 99.99 บริษัท เอ็กโก เอ็นจิเนียริ่ง แอนด์ เซอร์วิส จำกัด 99.99 99.99 บริษัท เอ็กโก ร่วมทุนและพัฒนา จำกัด 99.99 99.99 2. นโยบายการบัญชีที่สำคัญ 2.1 เงินลงทุนระยะสั้น เงินลงทุนระยะสั้นที่เป็นหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด แสดงตามราคาทุนรวมหรือราคา ตลาดรวมแล้วแต่ราคาใดจะต่ำกว่า (ราคาตลาดใช้ราคาปิดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เมื่อสิ้นวันทำการ วันสุดท้ายของงวดบัญชี) ตราสารหนี้ประเภทหุ้นกู้จะใช้ราคาซื้อขายครั้งล่าสุดของชมรมผู้ค้าตราสารหนี้เป็นราคาตลาด สำหรับเปรียบเทียบกับราคาทุน กรณีไม่มีราคาซื้อขายดังกล่าวจะคำนวณราคาตลาดขึ้นโดยใช้เส้น อัตราผลตอบแทนปรับด้วยค่าความเสี่ยงที่เหมาะสม เงินลงทุนในหน่วยลงทุนในกองทุนรวมแสดงในราคาทุน /2 - 2 - 2.2 วัสดุสำรองคลัง วัสดุสำรองคลังแสดงในราคาทุนหลังหักสำรองค่าวัสดุสำรองคลังล้าสมัย ราคาทุนคำนวณตามวิธี ถัวเฉลี่ยเคลื่อนที่ สำรองค่าวัสดุสำรองคลังล้าสมัยส่วนใหญ่คำนวณจากยอดคงเหลือ ณ วันสิ้นปีของวัสดุสำรองคลัง หารด้วยจำนวนปีที่คงเหลืออยู่ตามอายุของสัญญาซื้อขายไฟฟ้ากับการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศ ไทย (กฟผ.) 2.3 เงินลงทุนและเงินให้กู้ยืม เงินลงทุนแสดงตามวิธีส่วนได้เสีย ยกเว้นเงินลงทุนของบริษัทในบริษัทร่วมแห่งหนึ่ง และเงิน ลงทุนของบริษัทย่อยสองแห่งในบริษัทร่วมสามแห่ง ซึ่งแสดงในราคาทุน เนื่องจากไม่มีข้อมูลของ บริษัทร่วมดังกล่าว ที่จะนำมาแสดงตามวิธีส่วนได้เสียในขณะนี้ และเงินลงทุนดังกล่าวไม่มีสาระ สำคัญต่องบการเงินรวม เงินลงทุนในบริษัทอื่นแสดงตามราคาทุน 2.4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ ที่ดินแสดงในราคาทุน อาคารและอุปกรณ์ แสดงในราคาทุนหักค่าเสื่อมราคาสะสม ค่าเสื่อมราคาคำนวณโดยใช้วิธี เส้นตรง ตามอายุการใช้งานโดยประมาณของสินทรัพย์ดังนี้ โรงไฟฟ้า 15 ปี และ 20 ปี อาคารสิ่งปลูกสร้าง 20 ปี ระบบสื่อสาร 5 ปี และ 10 ปี ระบบส่งพลังไฟฟ้า 20 ปี เครื่องมือเครื่องใช้ในการผลิตและบำรุงรักษา 5 ปี เครื่องใช้สำนักงาน 5-10 ปี เครื่องตกแต่ง 5 ปี อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ 5-10 ปี ยานพาหนะ 5 ปี /3 - 3 - 2.5 ค่าใช้จ่ายรอตัดบัญชี ค่าใช้จ่ายก่อนการดำเนินงาน ค่าใช้จ่ายจัดตั้งบริษัทและค่าใช้จ่ายรอตัดบัญชีอื่นตัดจำหน่ายโดยวิธี เส้นตรงภายในระยะเวลา 5-10 ปี 2.6 การแปลงค่าเงินตราต่างประเทศ สินทรัพย์และหนี้สินที่เป็นเงินตราต่างประเทศคงเหลือ ณ วันสิ้นงวดแปลงค่าเป็นเงินบาท โดยใช้ อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันนั้น กำไร(ขาดทุน)จากการแปลงค่าได้รับรู้ในงบกำไรขาดทุน เมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม 2540 กระทรวงการคลังได้ประกาศใช้ระบบการแลกเปลี่ยนเงินตราแบบ ลอยตัว สำหรับงวดเก้าเดือนสิ้นสุดเพียงวันที่ 30 กันยายน 2540 ขาดทุนที่เกิดขึ้นจากการแปลงค่าสินทรัพย์ และหนี้สินที่มีอยู่ในบัญชี ณ วันสิ้นงวดของบริษัทย่อยสองแห่งบันทึกบัญชีเป็นขาดทุนจากการใช้ ระบบการแลกเปลี่ยนเงินตราแบบลอยตัวรอตัดบัญชี โดยแสดงเป็นรายการหักจากส่วนของ ผู้ถือหุ้นในงบดุล และตัดจำหน่ายตามส่วนเฉลี่ยของระยะเวลาการชำระหนี้ ซึ่งเป็นไปตามคำสั่ง กรมสรรพากรที่ ท.ป. 72/2540 (ดูหมายเหตุข้อ 13) 2.7 กำไรสุทธิต่อหุ้น กำไรสุทธิต่อหุ้นคำนวณโดยการหารกำไรสุทธิด้วยจำนวนหุ้นที่ออกและเรียกชำระแล้วตามระยะ เวลาที่มีการเพิ่มทุนถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก 2.8 การจัดประเภทรายการ งบการเงินระหว่างกาลรวมประจำงวดเก้าเดือนสิ้นสุดเพียงวันที่ 30 กันยายน 2539 บางรายการได้มี การจัดประเภทใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับรายการในงบการเงินระหว่างกาลรวมประจำงวดเก้าเดือน สิ้นสุดเพียงวันที่ 30 กันยายน 2540 /4 - 4 - 3. นโยบายการบริหารความเสี่ยงสำหรับสินทรัพย์และหนี้สินที่อยู่ในรูปเงินตราต่างประเทศ ตามที่ได้มีประกาศเปลี่ยนแปลงการใช้ระบบอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรามาเป็นระบบอัตราแลกเปลี่ยน แบบลอยตัว(MANAGED FLOAT EXCHANGE SYSTEM) เมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม 2540 มีผลกระทบ ให้บริษัทย่อยสองแห่งมีผลขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนเป็นจำนวนมาก อย่างไรก็ตาม ในสัญญาการซื้อขายกระแสไฟฟ้า (PPA) ที่บริษัทย่อยสองแห่งได้ทำไว้กับการไฟฟ้าฝ่าย ผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) นั้น บริษัทย่อยสามารถนำผลกระทบที่เกิดจากขาดทุนจากอัตราแลก เปลี่ยน ไปเจรจาขอรับเป็นค่าใช้จ่ายชดเชยคืนจากกฟผ. ได้ตามข้อกำหนดเรื่อง +CHANGE IN LAW " ของสัญญา PPA ดังกล่าว ซึ่งขณะนี้อยู่ในระหว่างการเจรจากับกฟผ. อนึ่งบริษัทย่อยสองแห่งอยู่ในระหว่างพิจารณาหาเครื่องมือป้องกันความเสี่ยงอัตราแลกเปลี่ยนเช่น CURRENCY SWAP, FORWARD และ OPTIONS ตลอดจนการออกตราสารหนี้เงินบาทอัตรา ดอกเบี้ยคงที่ ทดแทนการทำ INTEREST RATE SWAP แต่เนื่องจากค่าเงินบาทในขณะนี้ยังไม่มี เสถียรภาพเพียงพอ การหาเครื่องมือป้องกันความเสี่ยงและดำเนินการโดยเสียค่าใช้จ่ายในอัตราค่อน ข้างสูง จึงต้องระมัดระวังอย่างมาก ทำให้บริษัทไม่สามารถที่จะดำเนินการป้องกันความเสี่ยงโดยใช้ เครื่องมือที่เหมาะสมได้ในขณะนี้ 4. เงินฝากธนาคารและสถาบันการเงินที่ใช้เป็นหลักประกัน เงินฝากธนาคารและสถาบันการเงินที่ใช้เป็นหลักประกันเป็นเงินฝากธนาคารและสถาบันการเงินของ บริษัทย่อยสองแห่ง ซึ่งกันไว้จากรายได้ค่าขายไฟฟ้า เพื่อเป็นเงินสำรองสำหรับภาระหนี้สินดังกล่าวใน หมายเหตุข้อ 8 และข้อ 9 5. ลูกหนี้และตั๋วเงินรับการค้า ลูกหนี้และตั๋วเงินรับการค้าเป็นยอดค้างรับชำระค่าไฟฟ้าจากการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย(กฟผ.) รายเดียว (ยังมีต่อ)