11 พฤษภาคม 2542
การเงินไตรมาสหนึ่ง2542-EGCOMP
งบการเงินรวม
2542
สัดส่วน
ทุนชำระแล้ว เงินลงทุน
(พันบาท) (ร้อยละ)
บริษัทร่วม
บริษัท อมตะ เอ็กโกเพาเวอร์ จำกัด 1,350,000 29.70
บริษัท บางจาก เพาเวอร์ 40,000 30.00
บริษัท เอเอ็มเอสโก จำกัด 2,000 50.00
(เดิมชื่อบริษัท ซีเอ็มเอสโก จำกัด)
บริษัท เอสโกวู้ด จำกัด 20,000 45.00
บริษัทอื่น
บริษัท ไทยแอล เอ็น จี เพาเวอร์ จำกัด - 10.00
บริษัท พีเอ็มไอ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด - 10.00
เงินลงทุนในกองทุนเปิดตราสารหนี้
รวมเงินลงทุนในบริษัทอื่น
ชื่อบริษัท งบการเงินรวม
2542
วิธีราคาทุน วิธีส่วนได้เสีย
(พันบาท) (พันบาท)
บริษัทร่วม
บริษัท อมตะ เอ็กโกเพาเวอร์ จำกัด 400,950 442,524
บริษัท บางจาก เพาเวอร์ 12,000 11,840
บริษัท เอเอ็มเอสโก จำกัด 1,000 20,437
(เดิมชื่อบริษัท ซีเอ็มเอสโก จำกัด)
บริษัท เอสโกวู้ด จำกัด 9,000 -
รวมเงินลงทุนในบริษัทร่วม 422,950 474,801
ราคาทุนหรือ
ราคายุติธรรม
บริษัทอื่น (พันบาท)
บริษัท ไทยแอล เอ็น จี เพาเวอร์ จำกัด 37,499
บริษัท พีเอ็มไอ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด 300
เงินลงทุนในกองทุนเปิดตราสารหนี้ 631,541
รวมเงินลงทุนในบริษัทอื่น 669,340
เงินให้กู้ยืมแก่บริษัทร่วม 25,200
ชื่อบริษัท งบการเงินรวม
2541
สัดส่วน
ทุนชำระแล้ว เงินลงทุน
(พันบาท) (ร้อยละ)
บริษัทร่วม
บริษัท อมตะ เอ็กโกเพาเวอร์ จำกัด 696,000 29.70
บริษัท บางจาก เพาเวอร์ 40,000 30.00
บริษัท เอเอ็มเอสโก จำกัด 2,000 50.00
(เดิมชื่อบริษัท ซีเอ็มเอสโก จำกัด)
บริษัท เอสโกวู้ด จำกัด 20,000 45.00
บริษัทอื่น
บริษัท ไทยแอล เอ็น จี เพาเวอร์ จำกัด - 10.00
บริษัท พีเอ็มไอ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด - 10.00
ชื่อบริษัท งบการเงินรวม
2541
วิธีราคาทุน วิธีส่วนได้เสีย
(พันบาท) (พันบาท)
บริษัทร่วม
บริษัท อมตะ เอ็กโกเพาเวอร์ จำกัด 229,053 -
บริษัท บางจาก เพาเวอร์ 12,000 -
บริษัท เอเอ็มเอสโก จำกัด 1,000 -
(เดิมชื่อบริษัท ซีเอ็มเอสโก จำกัด)
บริษัท เอสโกวู้ด จำกัด 9,000 -
รวมเงินลงทุนในบริษัทร่วม 251,053 -
ราคาทุน
บริษัทอื่น (พันบาท)
บริษัท ไทยแอล เอ็น จี เพาเวอร์ จำกัด 37,499
บริษัท พีเอ็มไอ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด 300
เงินลงทุนในกองทุนเปิดตราสารหนี้ -
รวมเงินลงทุนในบริษัทอื่น 37,799
เงินให้กู้ยืมแก่บริษัทร่วม -
งบการเงินสำหรับงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2542 ได้รวม
ส่วนแบ่งผลขาดทุนสุทธิรวมทั้งสิ้น 21 ล้านบาทจากบริษัทร่วมสี่แห่ง (งวด
สามเดือนของปี พ.ศ. 2541 : ไม่มียอด) ผลประกอบการสำหรับงวดสามเดือน
สิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2542 ของบริษัทร่วมสี่แห่งนำมาจากงบการเงิน
ของบริษัทร่วมซึ่งยังไม่ได้สอบทานโดยผู้สอบบัญชีของบริษัท
ยังไม่ได้ตรวจสอบ
สอบทานแล้ว
บริษัท ผลิตไฟฟ้า จำกัด (มหาชน) หน้า 15
หมายเหตุประกอบงบการเงินและงบการเงินรวม - วันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2542 (ต่อ)
เงินกู้ยืมระยะยาว
8. เงินกู้ยืมระยะยาวเป็นเงินกู้ยืมสกุลเงินดอลล่าร์สหรัฐฯ และสกุลเงินบาท ดังนี้
งบการเงินรวม
2542 2541
(พันบาท) (พันบาท)
เงินกู้ยืมสกุลเงินดอลล่าร์สหรัฐฯ 16,941,360 18,296,615
เงินกู้ยืมสกุลเงินบาท 2,769,000 3,017,500
19,710,360 21,314,115
หัก ส่วนของเงินกู้ยืมระยะยาว
ที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี (1,220,490) (1,103,287)
18,489,870 20,210,828
เงินกู้ยืมของบริษัท ผลิตไฟฟ้าระยอง จำกัด เป็นเงินกู้ยืมภายใต้สัญญา Master
Agreement สัญญา Credit Agreement และสัญญา Institutional Loan
Agreement สัญญาแต่ละฉบับลงวันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2537 ส่วนเงินกู้ยืม
ระยะยาวของ บริษัท ผลิตไฟฟ้าขนอม จำกัด เป็นเงินกู้ยืมภายใต้สัญญา Master
Agreement และสัญญา Bank Credit Agreement สัญญาแต่ละฉบับลงวันที่
3 มิถุนายน พ.ศ. 2539
รายละเอียดเงินกู้ยืมของบริษัทย่อยทั้งสองแห่ง มีดังนี้
ยอดคงเหลือ ณ วันที่
31 มีนาคม ระยะเวลา อัตราดอกเบี้ย
วงเงินกู้ยืม พ.ศ. 2542 จ่ายคืนเงินต้น (ปี) (ร้อยละต่อปี)
เงินกู้ยืมของบริษัท ผลิตไฟฟ้าระยอง จำกัด
93 ล้านดอลล่าร์สหรัฐฯ 65.1 10 LIBOR บวกอัตราส่วนเพิ่ม
48 ล้านดอลล่าร์สหรัฐฯ 33.6 10 LIBOR บวกอัตราส่วนเพิ่ม
141 ล้านดอลล่าร์สหรัฐฯ 141.0 15 8.85
3,550 ล้านบาท 2,769.0 12 MLR ลบอัตราส่วนเพิ่ม
ยังไม่ได้ตรวจสอบ
สอบทานแล้ว
บริษัท ผลิตไฟฟ้า จำกัด (มหาชน) หน้า 16
หมายเหตุประกอบงบการเงินและงบการเงินรวม - วันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2542 (ต่อ)
ยอดคงเหลือ ณ วันที่
31 มีนาคม ระยะเวลา อัตราดอกเบี้ย
วงเงินกู้ยืม พ.ศ. 2542 จ่ายคืนเงินต้น (ปี) (ร้อยละต่อปี)
เงินกู้ยืมของบริษัท ผลิตไฟฟ้าขนอม จำกัด
100 ล้านดอลล่าร์สหรัฐฯ 90.0 12 LIBOR บวกอัตราส่วนเพิ่ม
165 ล้านดอลล่าร์สหรัฐฯ 148.5 12 LIBOR บวกอัตราส่วนเพิ่ม
225 ล้านบาท (ยังไม่ได้เบิกใช้) 15 MLR ลบอัตราส่วนเพิ่ม
บริษัท ผลิตไฟฟ้าระยอง จำกัด ได้ทำสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยกับ
สถาบันการเงินแห่งหนึ่ง สัญญามีผลบังคับให้เปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยลอยตัว
เป็นอัตราคงที่ร้อยละ 8.12 และ 8.22 ต่อปี สำหรับเงินกู้ยืม 93 และ 48 ล้าน
ดอลล่าร์สหรัฐฯ ทั้งสองจำนวน สัญญานี้มีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 30 พฤศจิกายน
พ.ศ. 2537 ถึงวันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2547
บริษัท ผลิตไฟฟ้าขนอม จำกัดได้ทำสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย
กับสถาบันการเงินแห่งหนึ่งในวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2539 สัญญามี
ผลบังคับให้เปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยลอยตัวเป็นอัตราคงที่ร้อยละ 8.0275
ต่อปี สำหรับเงินกู้ยืม 165 ล้านดอลล่าร์สหรัฐฯ ส่วนเงินกู้ยืมจำนวน 100
ล้านดอลล่าร์สหรัฐฯ บริษัทฯ ได้ทำสัญญาแลกเปลี่ยนจากอัตราดอกเบี้ย
ลอยตัวและสกุลเงินดอลล่าร์สหรัฐฯ เป็นอัตราดอกเบี้ยคงที่ร้อยละ 11
ต่อปี ในสกุลเงินบาท ภายใต้สัญญาดังกล่าว ยอดคงเหลือ 90 ล้าน
ดอลล่าร์สหรัฐฯ ณ วันที่ 31 มีนาคมพ.ศ. 2542 แปลงเป็นเงินบาทได้
เท่ากับ 2,271 ล้านบาท สัญญาข้างต้นมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 19 มิถุนายน
พ.ศ. 2539 ถึงวันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2551
ตามเงื่อนไขของสัญญา Master Agreement ของบริษัทย่อยทั้งสอง มีข้อ
กำหนดให้กันเงินสำรองสำหรับภาระหนี้สินและมีเงื่อนไขต่าง ๆ ตามที่ระบุ
ในสัญญา โดยสำรองในรูปของเงินฝากธนาคารและสถาบันการเงินเพื่อการ
ชำระคืนเงินต้นและจ่ายดอกเบี้ยที่จะครบกำหนดชำระภายในหนึ่งปี ตามที่
กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 6 และบริษัทย่อยทั้งสองแห่ง
ยังต้องกันเงินสำรองเพื่อลดความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนตามที่กล่าว
ไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อเดียวกัน
นอกจากนั้นบริษัทย่อยทั้งสองแห่งยังได้นำสัญญาซื้อขายไฟฟ้า สัญญาซื้อ
ขายทรัพย์สิน สัญญาการบำรุงรักษาหลักกรมธรรม์ประกันภัย และสัญญา
อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับเจ้าหนี้เงินกู้ วางเป็นหลักประกันตามเงื่อนไขภายใต้
สัญญา Master Agreement ของบริษัทย่อยทั้งสอง
ยังไม่ได้ตรวจสอบ
สอบทานแล้ว
บริษัท ผลิตไฟฟ้า จำกัด (มหาชน) หน้า 17
หมายเหตุประกอบงบการเงินและงบการเงินรวม - วันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2542 (ต่อ)
หุ้นกู้
9. งบการเงินรวม
2542 2541
(พันบาท) (พันบาท)
หุ้นกู้ 10,130,438 10,406,670
หัก ส่วนของหุ้นกู้ที่ถึง
กำหนดชำระภายในหนึ่งปี (969,972) (310,093)
9,160,466 10,096,577
หุ้นกู้ของบริษัท ผลิตไฟฟ้าระยอง จำกัดเป็นเงินกู้ยืมภายใต้สัญญา
Master Agreement และสัญญา Debenture Holder Representative
Appointment Agreement No.1 และ No.2 สัญญาแต่ละฉบับลงวันที่
30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2537 ส่วนหุ้นกู้ของบริษัท ผลิตไฟฟ้าขนอม จำกัด
เป็นเงินกู้ยืมภายใต้สัญญา Master Agreement และข้อกำหนดว่าด้วย
สิทธิและหน้าที่ของผู้ออกหุ้นกู้และผู้ถือหุ้นกู้ ลงวันที่ 3 มิถุนายน
พ.ศ. 2539 และวันที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2539 ตามลำดับ
รายละเอียดของหุ้นกู้ของบริษัทย่อยทั้งสองแห่ง มีดังนี้
ยอดคงเหลือ ณ วันที่
31 มีนาคม พ.ศ.2542 อายุหุ้นกู้
(ล้านบาท) (ปี)
บริษัท ผลิตไฟฟ้าระยอง จำกัด
หุ้นกู้ครั้งที่ 1 2,500.0 5,7,10,12
หุ้นกู้ครั้งที่ 2 780.0 1-12
บริษัท ผลิตไฟฟ้าขนอม จำกัด
หุ้นกู้ 6,946.7 15
วันที่ครบ
อัตราดอกเบี้ย กำหนดชำระ
(ร้อยละต่อปี)
บริษัท ผลิตไฟฟ้าระยอง จำกัด
หุ้นกู้ครั้งที่ 1 11.25% 7 ธันวาคม 2549
หุ้นกู้ครั้งที่ 2 11.25% 7 ธันวาคม 2549
บริษัท ผลิตไฟฟ้าขนอม จำกัด
หุ้นกู้ 11.5625% 14 มิถุนายน 2554
หุ้นกู้ครั้งที่ 1 ของบริษัท ผลิตไฟฟ้าระยอง จำกัด แบ่งเป็น 4 ส่วนตาม
อายุ 5 ปี 7 ปี 10 ปีและ 12 ปี โดยมี กำหนดไถ่ถอนในปี พ.ศ. 2542
2544 2547 และ 2549 ตามลำดับ ส่วนหุ้นกู้ครั้งที่ 2 แบ่งเป็น 12 ส่วน
อายุ 1 ถึง12 ปี มีกำหนดไถ่ถอนตั้งแต่ปี พ.ศ. 2538 ถึง พ.ศ. 2549
โดยจ่ายดอกเบี้ยปีละ 2 ครั้ง
ยังไม่ได้ตรวจสอบ
สอบทานแล้ว
บริษัท ผลิตไฟฟ้า จำกัด (มหาชน) หน้า 18
หมายเหตุประกอบงบการเงินและงบการเงินรวม - วันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2542 (ต่อ)
ส่วนหุ้นกู้ของบริษัท ผลิตไฟฟ้าขนอม จำกัด เป็นหุ้นกู้มีประกันชนิด
ระบุชื่อผู้ถือหุ้นจำนวน 750,000 หน่วย มีมูลค่าที่ตราไว้หน่วยละ
10,000 บาท โดยมีมูลค่ารวมจำนวน 7,500 ล้านบาท ซึ่งได้เสนอขาย
ให้แก่ประชาชนทั่วไป อายุหุ้นกู้มีกำหนด 15 ปีนับจากวันออกหุ้นกู้
คือวันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2539 ครบกำหนด ไถ่ถอนเป็นงวดๆทุก 6
เดือน ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2539 ถึง พ.ศ. 2554 อัตราดอกเบี้ยคงที่ร้อยละ
11.5625 ต่อปีและกำหนดจ่ายดอกเบี้ยปีละ 2 ครั้ง
บริษัทย่อยทั้งสองแห่งต้องกันเงินสำรองเพื่อการชำระคืนเงินต้นและ
ดอกเบี้ยให้แก่เจ้าหนี้หุ้นกู้ในสัญญาต่างๆ รวมทั้งการนำสัญญาต่างๆ ที่เกี่ยว
ข้องวางเป็นหลักประกัน ตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน
ข้อ 8
ต้นทุนขาย
10. ต้นทุนขายประกอบด้วยค่าใช้จ่ายหลักที่สำคัญ ได้แก่ ค่าบำรุง
รักษา ค่าเสื่อมราคาและค่าเบี้ยประกันค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการซ่อมบำรุง
รักษาโรงไฟฟ้าหลัก (Major repair and maintenance expenses) จะ
บันทึกเป็นค่าใช้จ่ายเมื่อเกิดขึ้น เริ่มตั้งแต่ไตรมาสที่สองของปี พ.ศ.
2541 บริษัทย่อยทั้งสองแห่งได้ตั้งสำรองค่าใช้จ่ายในการซ่อมบำรุง
รักษาหลักในงบการเงินระหว่างกาล โดยคำนวณจากประมาณการ
ค่าใช้จ่ายในการซ่อมบำรุงรักษาหลักทั้งปี ค่าใช้จ่ายในการซ่อมบำรุง
หลักสำหรับงวดสามเดือนของปี พ.ศ. 2542 เป็นจำนวน 114 ล้านบาท
ขาดทุน (กำไร) จากอัตราแลกเปลี่ยน
11. ขาดทุน (กำไร) จากอัตราแลกเปลี่ยนในงบการเงินรวมนี้ส่วนใหญ่
เกิดจากการแปลงค่าเงินกู้ยืมระยะยาวของบริษัทย่อยสองแห่งที่เป็นสกุล
เงินดอลล่าร์สหรัฐฯ เป็นเงินบาทดัวยอัตราแลกเปลี่ยนตามวันที่ในงบดุล
ทั้งนี้ ส่วนแบ่งกำไรจากบริษัทย่อยตามวิธีส่วนได้เสีย สำหรับงวดสาม
เดือนของปี พ.ศ. 2542 และ 2541 รวมขาดทุน (กำไร) จากอัตราแลก
เปลี่ยนจำนวน 229 ล้านบาทและ (2,632) ล้านบาทตามลำดับ
ยังไม่ได้ตรวจสอบ
สอบทานแล้ว
บริษัท ผลิตไฟฟ้า จำกัด (มหาชน) หน้า 19
หมายเหตุประกอบงบการเงินและงบการเงินรวม - วันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2542 (ต่อ)
ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น
12.
(ก) ณ วันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2542 บริษัทฯ มีภาระผูกพันที่ต้องจ่ายเงิน
ตามสัญญาก่อสร้างเป็นจำนวนเงินประมาณ 121 ล้านบาท และมี
วงเงินให้กู้ยืมระยะสั้นคงเหลือแก่บริษัทย่อยแห่งหนึ่งจำนวนเงิน 10
ล้านบาท
ข) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2542 บริษัทฯ มีภาระผูกพันในการทำ
สัญญาค้ำประกันให้แก่บริษัทย่อยและบริษัทร่วม ดังต่อไปนี้
สกุลเงิน
(บาท) (ดอลล่าร์สหรัฐฯ)
การซื้อวัตถุดิบ - 5,292,300
การค้ำประกันการปฏิบัติ
ตามสัญญา 23,842,387 536,079
(ค) ณ วันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2542 บริษัทฯ มิได้ทำสัญญาซื้อเงินตรา
ต่างประเทศล่วงหน้า เพื่อป้องกันความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลง
ของอัตราแลกเปลี่ยน สำหรับภาระหนี้สินที่เป็นเงินตราต่างประเทศ
ของบริษัทย่อยสองแห่งเป็นจำนวนรวม 387.5 ล้านดอลล่าร์สหรัฐฯ
อย่างไรก็ตามบริษัทย่อยทั้งสองแห่งจะได้รับชดเชยผลกระทบจาก
ความเสี่ยงดังกล่างบางส่วนจากการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
ตามที่กล่าวในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 5
(ง) บริษัทย่อยสองแห่ง ได้ทำสัญญาประกันภัยกับบริษัทประกันภัย
ภายในประเทศสองแห่ง สัญญาเหล่านี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประกัน
ความ เสียหายที่อาจเกิดขึ้นกับโรงไฟฟ้า อุปกรณ์ที่ใช้งานในโรง
ไฟฟ้าตามที่ระบุในสัญญา ผลเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นภายหลัง
และประกันภัยต่อบุคคลที่สาม เป็นระยะเวลา 3 ปี เริ่มตั้งแต่วันที่
31 ธันวาคม พ.ศ. 2541 และ1 มกราคม พ.ศ. 2542 โดยบริษัทย่อย
ทั้งสองจะต้องชำระค่าเบี้ยประกันภัยปีแรกเป็นจำนวน 1,167,885
ดอลล่าร์สหรัฐฯ ค่าเบี้ยประกันสำหรับอีกสองปีถัดไปขึ้นอยู่กับ
การตกลงร่วมกันระหว่างบริษัทย่อยทั้งสองแห่งกับบริษัทประกันภัย
ตามเงื่อนไขที่ว่าบริษัทย่อยทั้งสองแห่งจะไม่เรียกชำระค่าเสียหาย
ภายในเวลาที่มีการประกันภัย
(จ) นอกจากนี้ บริษัทย่อยแห่งหนึ่งยังได้ทำสัญญาบริการซ่อมแซมวัสดุ
สำรองคลังกับผู้ให้บริการสองบริษัท ซึ่งเป็นบริษัทในเครือตาม
เงื่อนไขของสัญญา บริษัทฯ จะต้องให้คู่สัญญาซ่อมแซมวัสดุสำรอง
คลังตามที่ระบุในสัญญา สัญญาดังกล่าวมีระยะเวลา 2 ปี เริ่มตั้งแต่
ไตรมาสแรกของปี พ.ศ. 2542 และมีมูลค่าทั้งสิ้น 49.9 ล้านบาท
และ 895,438 ปอนด์สเตอร์ลิง
ยังไม่ได้ตรวจสอบ
สอบทานแล้ว
บริษัท ผลิตไฟฟ้า จำกัด (มหาชน) หน้า 20
หมายเหตุประกอบงบการเงินและงบการเงินรวม - วันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2542 (ต่อ)
ตัวเลขเปรียบเทียบ
13. ได้มีการจัดประเภทของรายการบางรายการในงบการเงินระหว่าง
กาลของปี พ.ศ. 2542 ขึ้นใหม่ ดังนั้นจึงได้มีการจัดประเภทรายการในงบ
การเงินระหว่างกาลของปี พ.ศ. 2541 ให้สอดคล้องกัน
งบกระแสเงินสดสำหรับงวดสามเดือนของปี พ.ศ. 2542 ได้จัดทำขึ้นตาม
ประกาศของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ดังนั้นจึงได้จัดทำงบ
กระแสเงินสดสำหรับงวดสามเดือนของปี พ.ศ. 2541 เพื่อวัตถุประสงค์
ในการเปรียบเทียบ
ปัญหา ปี ค.ศ. 2000
14. ณ วันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2542 บริษัทฯ กำลังอยู่ในขั้นตอนการ
ดำเนินการแก้ไขจริง ซึ่งถือเป็นขั้นตอนสุดท้ายในการแก้ไขปัญหาปี ค.ศ.
2000 ในระบบสำคัญของบริษัทฯและบริษัทย่อย ได้แก่ ระบบการผลิต
และระบบการซ่อมบำรุง ได้ดำเนินการแก้ไขปัญหาเป็นที่เรียบร้อยก่อน
กำหนดเวลา (เดือนกันยายน พ.ศ. 2542) สำหรับระบบการจัดส่งวัตถุดิบ
ในการผลิต (ก๊าซธรรมชาติ) บริษัทฯ ได้รับเอกสารยืนยันจากการปิโตร
เลียมแห่งประเทศไทย (ปตท.) ว่าได้ดำเนินการแก้ไขปัญหาตามคำแนะนำ
ของบริษัท โยโกกาวา (ประเทศไทย) เป็นที่เรียบร้อยแล้ว
ในส่วนของค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นคิดเป็น ประมาณร้อยละ 50 ของงบประมาณ
ทั้งหมด (งบประมาณประมาณ 66 ล้านบาท)
การดำเนินงานขั้นต่อไป คือ การดำเนินการแก้ไขจริงให้ครบทุกระบบ
และจัดเตรียมแผนสำรองให้แล้วเสร็จสมบูรณ์ตามกำหนด
รายงานของผู้สอบบัญชี หน้า 1