11 สิงหาคม 2543
การเงินไตรมาสที่2 ปี 2543
กระแสเงินสดก่อนการเปลี่ยนแปลงในเงินทุนหมุนเวียน 2,835,078 2,569,832 (175,131) (8,677)
การเปลี่ยนแปลงของสินทรัพย์และหนี้สินดำเนินงาน
(ไม่รวมผลกระทบของการซื้อ)
- เงินลงทุนที่ใช้เป็นหลักประกัน 356,871 (10,033) - -
- ลูกหนี้การค้า (217,819) (206,021) - -
- ลูกหนี้บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน 4,365 - 11,301 -
- วัสดุสำรองคลัง (327,953) (144,042) - -
- สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น (25,164) (8,796) 29,401 2,485
- สินทรัพย์อื่น 7,611 2,012 (3,659) 2,513
- เจ้าหนี้การค้า (90,632) (124,302) - -
- เจ้าหนี้บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน (35,706) - (3,400) -
- หนี้สินหมุนเวียนอื่น 45,841 (102,190) (21,874) (30,867)
กระแสเงินสดได้มา (ใช้ไป) จากกิจกรรมการดำเนินงาน 2,552,492 1,976,460 (163,362) (34,546)
งบการเงิน
งบการเงินรวม ของบริษัทฯ
30 มิถุนายน 30 มิถุนายน 30 มิถุนายน 30 มิถุนายน
พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2542
(ปรับปรุงใหม่) (ปรับปรุงใหม่)
พันบาท พันบาท พันบาท พันบาท
กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน
เงินสดจ่ายเพื่อซื้อกิจการร่วมค้าสุทธิจากเงินสดที่ได้มา (1,043,883) - (1,050,000) -
เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม (156,975) (112,367) (207,088) (100,000)
เงินลงทุนระยะยาวอื่น (248,021) (30,000) (247,376) -
เงินสดจ่ายเพื่อซื้อที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ (218,288) (231,481) (783) (171,547)
เงินลงทุนในหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด (299,436) 132,490 (299,436) 132,490
เงินลงทุนในหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาดถือจน
ครบกำหนดที่ใช้เป็นหลักประกัน (50,007) - - -
เงินให้กู้ยืมแก่บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน 13,357 (34,461) - (31,600)
เงินปันผลรับจากบริษัทย่อย - - 2,154,147 1,057,506
เงินปันผลรับจากบริษัทร่วมและบริษัทอื่น 19,494 90,113 9,994 90,113
เงินสดสุทธิได้มา (ใช้ไป) จากกิจกรรมลงทุน (1,983,759) (185,706) 359,458 976,962
กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน
ออกหุ้นเพิ่มทุน 3,780 46,857 3,780 46,857
เงินสดจ่ายเพื่อชำระเงินกู้ยืมระยะยาวและหุ้นกู้ (753,166) (730,506) - -
เงินปันผลจ่าย (1,048,542) (619,910) (1,048,542) (619,910)
เงินสดสุทธิใช้ไปจากกิจกรรมจัดหาเงิน (1,797,928) (1,303,559) (1,044,762) (573,053)
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ (1,229,195) 487,195 (848,666) 369,363
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดคงเหลือต้นงวด 8,343,517 2,462,000 7,534,950 2,141,726
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดคงเหลือปลายงวด 7,114,322 2,949,195 6,686,284 2,511,089
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดประกอบด้วย
เงินสดและเงินฝากธนาคาร 2,452,716 932,467 2,354,771 783,377
เงินลงทุนระยะสั้น 4,661,606 2,016,728 4,331,513 1,727,712
7,114,322 2,949,195 6,686,284 2,511,089
ข้อมูลเพิ่มเติมสำหรับงบกระแสเงินสด
ดอกเบี้ยจ่าย 1,506,039 1,446,040 200,000 -
ภาษีเงินได้จ่าย - 22,900 - 22,900
1 นโยบายการบัญชี
งบการเงินระหว่างกาลรวมและงบการเงินระหว่างกาลของบริษัทฯ ได้จัดทำขึ้นตามหลักการการบัญชีที่รับรองทั่วไปในประเทศไทย อย่าง
ไรก็ดี งบการเงินพื้นฐานได้แก่ งบดุล งบกำไรขาดทุน งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้น และงบกระแสเงินสดได้นำเสนอใน
ลักษณะเต็มรูปแบบตามกฎกระทรวงฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2539) เพื่อให้เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลัก
ทรัพย์และข้อบังคับของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และไม่ได้แสดงโดยใช้รูปแบบย่อตามที่กำหนดไว้ในมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่
41 เรื่องงบการเงินระหว่างกาล นโยบายการบัญชีที่ใช้ในการจัดทำงบการเงินระหว่างกาลเป็นนโยบายการบัญชีเดียวกับที่ใช้ในงบการเงิน
สำหรับงวดปีบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2542
กลุ่มบริษัทได้เริ่มใช้นโยบายการบัญชีตามมาตรฐานการบัญชีของประเทศไทยที่ประกาศใหม่ ซึ่งให้ถือปฏิบัติตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ.
2543 ดังต่อไปนี้
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 41 - งบการเงินระหว่างกาล
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 44 - งบการเงินรวมและการบัญชีสำหรับเงินลงทุนในบริษัทย่อย
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 45 - การบัญชีสำหรับเงินลงทุนในบริษัทย่อย
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 46 - รายการทางการเงินเกี่ยวกับส่วนได้เสียในการร่วมค้า
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 47 - การเปิดเผยข้อมูลของบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน
ตัวเลขที่นำมาแสดงเปรียบเทียบได้มีการปรับปรุงหรือเพิ่มเติมเพื่อให้สอดคล้องกับข้อกำหนดตามมาตรฐานการบัญชีฉบับใหม่ที่ถึง
กำหนดปฏิบัติ
ค่าความนิยมเกิดจากส่วนของราคาซื้อที่สูงกว่ามูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนที่กลุ่มบริษัทมีส่วนแบ่งในสินทรัพย์สุทธิของบริษัทย่อย และ
กิจการร่วมค้า ณ วันที่ซื้อกิจการ ค่าความนิยมที่เกิดจากการซื้อกิจการแสดงเป็นค่าความนิยมในงบดุลรวม
ค่าความนิยมที่เกิดจากการซื้อกิจการตัดจำหน่ายโดยใช้วิธีเส้นตรงภายในระยะเวลา 20 ปี
รายจ่ายที่เกิดขึ้นอย่างไม่สม่ำเสมอในระหว่างงวดปีบัญชีจะรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายหรือค่าใช้จ่ายรอการตัดบัญชีโดยใช้เกณฑ์เดียวกับการรับรู้
รายจ่ายเป็นค่าใช้จ่ายหรือค่าใช้จ่ายรอการตัดบัญชี ณ วันสิ้นงวดปีบัญชี
งบการเงินระหว่างกาลนี้ควรใช้ควบคู่ไปกับงบการเงินสำหรับงวดปีบัญชี พ.ศ. 2542
2 การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี
(ก) ในไตรมาสที่สี่ของปี พ.ศ. 2542 เพื่อให้สอดคล้องกับการตีความตามมาตรฐานการบัญชี เรื่องที่ 4 ของสมาคมนักบัญชีและผู้สอบบัญชีรับ
อนุญาตแห่งประเทศไทย ลงวันที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2543 กลุ่มบริษัทได้สอบทานนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับการบันทึกค่าใช้จ่ายก่อนเปิดกิจ
การและค่าใช้จ่ายรอตัดจ่ายอื่นๆ และได้เปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีดังกล่าวจากที่เคยบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายรอตัดบัญชีมาเป็นค่าใช้จ่าย
เมื่อเกิดขึ้น
(ข) เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2543 เพื่อให้สอดคล้องกับมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 41 เรื่องงบการเงินระหว่างกาล กลุ่มบริษัทได้สอบ
ทานนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับการบันทึกค่าใช้จ่ายในการซ่อมบำรุงรักษาหลักในงบการเงินระหว่างกาล ผลจากการสอบทานดังกล่าวกลุ่ม
บริษัทบันทึกค่าใช้จ่ายในการซ่อมบำรุงรักษาหลักเป็นค่าใช้จ่ายในงบการเงินระหว่างกาลเมื่อเกิดขึ้นจริง ก่อนหน้านี้กลุ่มบริษัทบันทึกค่า
ใช้จ่ายดังกล่าวในงบการเงินระหว่างกาล โดยสำรองจากประมาณการค่าใช้จ่ายในการซ่อมบำรุงรักษาหลักทั้งปีซึ่งเป็นไปตามประกาศ
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ลงวันที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2541
ดังนั้นกลุ่มบริษัทได้ปรับปรุงผลของการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวตามข้อ 2 (ก) ย้อนหลังโดยปรับปรุงกับกำไรสะสมต้นงวด ณ วันที่ 1
มกราคม พ.ศ. 2542 และได้ปรับปรุงงบกำไรขาดทุนสำหรับงวดสามเดือนและหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2542 งบแสดงการ
เปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้นและงบกระแสเงินสดสำหรับงวดหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2542 ที่นำมาเปรียบเทียบขึ้น
ใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทั้งข้อ 2 (ก) และ 2 (ข)
รายการการปรับปรุงย้อนหลังของบริษัทย่อยสองแห่งของบริษัทฯ และผลของการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว ทำให้กำไรสุทธิและกำไรต่อหุ้น
ของงบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัทฯ สำหรับงวดสามเดือนและหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2542 เพิ่มขึ้นดังนี้
30 มิถุนายน พ.ศ. 2542
งวดสามเดือน งวดหกเดือน
พันบาท พันบาท
(ก) ค่าใช้จ่ายก่อนเปิดกิจการและค่าใช้จ่ายรอ ตัดจ่ายอื่น ๆ จากที่เคยบันทึก
เป็นค่าใช้จ่ายรอตัดบัญชีมาเป็นค่าใช้จ่ายเมื่อเกิดขึ้น 27,846 55,396
(ข) ค่าใช้จ่ายในการซ่อมบำรุงรักษาหลัก 73,593 50,522
กำไรสุทธิเพิ่มขึ้น 101,439 105,918
กำไรต่อหุ้นเพิ่มขึ้น (บาท) 0.19 0.20
3 กำไรต่อหุ้น
กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานคำนวณโดยการหารกำไรสุทธิที่เป็นของผู้ถือหุ้นสามัญด้วยจำนวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักที่มีอยู่ใน
ระหว่างงวด (พ.ศ. 2543 จำนวน 524,397,100 หุ้น ; พ.ศ. 2542 จำนวน 522,742,500 หุ้น)
สำหรับกำไรต่อหุ้นปรับลด จำนวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยที่มีอยู่ในระหว่างงวดได้ปรับด้วยจำนวนหุ้นสามัญเทียบเท่าปรับลด ซึ่งก็คือใบ
สำคัญแสดงสิทธิซื้อหุ้นที่ให้แก่พนักงานของกลุ่มบริษัท ภายใต้โครงการ Employee Stock Ownership Plan โดยสมมุติว่าสิทธิซื้อหุ้นที่
ยังคงค้างเหล่านั้นได้แปลงเป็นหุ้นสามัญทั้งหมด
4 เงินฝากธนาคารและสถาบันการเงินที่ใช้เป็นหลักประกัน
ณ วันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2543 เงินสำรองส่วนใหญ่ซึ่งเป็นของบริษัทย่อยสองแห่งของบริษัทฯ คือ บริษัท ผลิตไฟฟ้าระยอง จำกัด และ
บริษัท ผลิตไฟฟ้าขนอม จำกัด ที่มีไว้เพื่อใช้ในการจ่ายชำระคืนเงินต้นและดอกเบี้ยที่จะถึงกำหนดชำระคืนภายในหนึ่งปีเป็นจำนวนเงิน
3,515 ล้านบาท (ณ วันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2542 จำนวนเงิน 3,329 ล้านบาท) ส่วนยอดสำรองที่เหลือส่วนใหญ่เป็นยอดบัญชี Holding
accounts ของบริษัทย่อยทั้งสองและ Borrower's accounts ในส่วนของบริษัท ผลิตไฟฟ้าขนอม จำกัด จำนวนเงินรวมทั้งสิ้น 2,286 ล้าน
บาท ณ วันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2543 (ณ วันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2542 จำนวนเงิน 2,570 ล้านบาท) ซึ่งเป็นไปตามเงื่อนไขของสัญญา
เงินกู้ของบริษัทย่อยทั้งสอง
เงินลงทุนประกอบด้วยเงินฝากธนาคารและสถาบันการเงิน และเงินลงทุนในหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด
การเปลี่ยนแปลงในเงินลงทุนระยะสั้นและระยะยาวในหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาดในระหว่างงวดเป็นได้ดังนี้
เงินลงทุนในหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด
งบการเงินรวม
สำหรับงวดหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2543
ระยะสั้น ระยะยาว
พันบาท พันบาท
? ถือจนครบกำหนด ราคาทุน
- ยอดต้นงวด ณ วันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2543 - -
- เพิ่มขึ้นระหว่างงวด - 50,007
- ยอดปลายงวด - 50,007
? เผื่อขาย
- ยอดต้นงวด ณ วันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2543 - -
- โอนจากเงินฝากธนาคารและสถาบันการเงิน 441,473 1,410,873
- ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไม่เกิดขึ้นจากการโอนเงินฝากธนาคารและสถาบัน
เงินที่ใช้เป็นหลักประกันไปลงทุนในหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด (200) (641)
- กำไรที่ยังไม่รับรู้จากการปรับมูลค่าเงินลงทุนในหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด 765 2,421
- มูลค่ายุติธรรม 442,038 1,412,653
รวมเงินลงทุนในหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาดที่ใช้ เป็นหลักประกัน 442,038 1,462,660
4 เงินฝากธนาคารและสถาบันการเงินที่ใช้เป็นหลักประกัน (ต่อ)
กำไรขาดทุนจากราคาตลาดที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงของเงินลงทุนในหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาดที่มีไว้เผื่อขาย ได้บันทึกเป็นราย
การแยกต่างหากจากส่วนของผู้ถือหุ้น และจะรับรู้เป็นรายได้หรือค่าใช้จ่ายในงบกำไรขาดทุน เมื่อมีการขายเงินลงทุนดังกล่าว
5 เงินลงทุนในบริษัทย่อย กิจการร่วมค้า บริษัทร่วม และเงินลงทุนระยะยาวอื่น
งบการเงิน
งบการเงินรวม ของบริษัทฯ
30 มิถุนายน 30 มิถุนายน 30 มิถุนายน 30 มิถุนายน
พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2542
(ปรับปรุงใหม่) (ปรับปรุงใหม่)
พันบาท พันบาท พันบาท พันบาท
เงินลงทุนในบริษัทย่อย - - 12,795,433 12,788,857
เงินลงทุนในกิจการร่วมค้า - - 1,050,000 -
เงินลงทุนในบริษัทร่วม 474,841 480,850 - -
474,841 480,850 13,845,433 12,788,857
เงินลงทุนระยะยาวอื่น 475,293 227,981 475,293 227,981
รวมเงินลงทุน 950,134 708,831 14,320,726 13,016,838
5 เงินลงทุนในบริษัทย่อย กิจการร่วมค้า บริษัทร่วม และเงินลงทุนระยะยาวอื่น (ต่อ)
รายละเอียดของการลงทุนในบริษัทย่อยซึ่งจัดตั้งขึ้นในประเทศไทยทั้งหมด ยกเว้นบริษัท เอ็กโก อินเตอร์เนชั่นแนล บี วี ไอ จำกัดซึ่งจัด
ตั้งขึ้นที่ British Virgin Islands มีดังต่อไปนี้
งบการเงิน
ของบริษัทฯ
30 มิถุนายน 31 ธันวาคม
พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2542
อัตราร้อยละ วิธีราคาทุน วิธีส่วนได้เสีย วิธีราคาทุน วิธีส่วนได้เสีย
ประเภทธุรกิจ ของหุ้นที่ถือ พันบาท พันบาท พันบาท พันบาท
บริษัท ผลิตไฟฟ้าระยอง จำกัด ผลิตไฟฟ้า 99.99 4,700,000 6,013,968 4,700,000 6,518,272
บริษัท ผลิตไฟฟ้าขนอม จำกัด ผลิตไฟฟ้า 99.99 4,850,000 5,774,019 4,850,000 5,547,372
บริษัท เอ็กโกเอ็นจิเนียริ่ง แอนด์ ให้บริการรับจ้าง ซ่อมแซม
เซอร์วิส จำกัด และบริษัทย่อยและ และรับจ้างเดินเครื่องจักรโรง
บริษัทร่วม ไฟฟ้า และโรงงาน 99.99 310,000 218,445 210,000 80,692
- บริษัทย่อย
- บริษัท พลังงานเกษตร จำกัด ซื้อ/ขาย ขนส่งเชื้อเพลิงจากเศษ
วัสดุธรรมชาติ
- บริษัทร่วม
- บริษัท อมตะ เพาเวอร์-เอสโก
เซอร์วิส จำกัด รับจ้างเดินเครื่องจักรไฟฟ้า
ให้บริการซ่อมแซมเครื่องจักร
- บริษัท เอสโกวู้ด จำกัด ไฟฟ้า
บริษัท เอ็กโกร่วมทุนและ ลงทุนในโครงการต่างๆทาง
พัฒนา จำกัด และบริษัทร่วม ด้านธุรกิจพลังงานไฟฟ้า 99.99 447,720 506,054 447,720 510,444
- บริษัท อมตะเอ็กโกเพาเวอร์ จำกัด ผลิตไฟฟ้า
บริษัทเอ็กโกธุรกิจเหมือง จำกัด ธุรกิจเหมืองแร่และพลังงาน
อื่นๆ 70.00 124,800 11,389 124,800 15,975
บริษัท เอ็กคอมธารา จำกัด ธุรกิจผลิตน้ำประปา 70.00 289,800 271,445 241,500 116,102
บริษัท เอ็กโก กรีน เอ็นเนอร์ยี จำกัด ธุรกิจพลังงานไฟฟ้าที่ใช้วัตถุ
ดิบธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิง 74.00 74 74 - -
EGCO International B.V.I. ลงทุนในธุรกิจพลังงาน 100.00 39 39 - -
10,722,433 12,795,433 10,574,020 12,788,857
รายละเอียดของการลงทุนในกิจการร่วมค้าซึ่งจัดตั้งขึ้นในประเทศไทยมีดังต่อไปนี้
งบการเงิน
ของบริษัทฯ
30 มิถุนายน 31 ธันวาคม
พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2542
อัตราร้อยละ วิธีราคาทุน วิธีส่วนได้เสีย วิธีราคาทุน วิธีส่วนได้เสีย
ประเภทธุรกิจ ของหุ้นที่ถือ พันบาท พันบาท พันบาท พันบาท
บริษัท กัลฟ์อิเล็คตริก จำกัด (มหาชน) ผลิตไฟฟ้า 50.00 1,050,000 1,050,000 - -
1,050,000 1,050,000 - -
งบการเงินสำหรับงวดสามเดือนและหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2543 ของบริษัท กัฟล์อิเล็คตริก จำกัด (มหาชน) ได้สอบ
ทานโดยผู้สอบบัญชีของบริษัทนั้นแล้ว
5 เงินลงทุนในบริษัทย่อย กิจการร่วมค้า บริษัทร่วม และเงินลงทุนระยะยาวอื่น (ต่อ)
รายละเอียดของการลงทุนในบริษัทร่วมซึ่งจัดตั้งขึ้นในประเทศไทยทั้งหมดมีดังต่อไปนี้
งบการเงินรวม
ณ วันที่ 30 มิถุนายน
พ.ศ. 2543
ประเภทธุรกิจ ทุนชำระแล้ว สัดส่วน วิธีราคาทุน วิธีส่วนได้เสีย เงินปันผล
เงินลงทุน
พันบาท (ร้อยละ) พันบาท พันบาท พันบาท
บริษัท อมตะ เพาเวอร์-เอสโก เซอร์วิส
จำกัด รับจ้างเดินเครื่องจักรไฟฟ้า 2,000 50.00 1,000 730 -
บริษัท พลังงานเกษตร จำกัด ซื้อ/ขาย ขนส่งเชื้อเพลิงจาก
เศษวัสดุธรรมชาติ 500 99.99 500 500 -
บริษัท อมตะเอ็กโกเพาเวอร์ จำกัด ผลิตไฟฟ้า 1,350,000 29.70 400,950 473,611 -
402,450 474,841
งบการเงินรวม
ณ วันที่
30 ธันวาคม
พ.ศ. 2542
ประเภทธุรกิจ ทุนชำระแล้ว สัดส่วน วิธีราคาทุน วิธีส่วนได้เสีย เงินปันผล
เงินลงทุน
พันบาท (ร้อยละ) พันบาท พันบาท พันบาท
บริษัท อมตะเอ็กโกเพาเวอร์ จำกัด ผลิตไฟฟ้า 1,350,000 29.70 400,950 477,804 -
บริษัท อมตะ เพาเวอร์-เอสโก เซอร์วิส จำกัด รับจ้างเดินเครื่องจักรไฟฟ้า 2,000 50.00 1,000 2,546 -
บริษัท เอสโกวู้ด จำกัด ให้บริการซ่อมแซม 20,000 45.00 9,000 - -
เครื่องจักรไฟฟ้า
บริษัท พลังงานเกษตร จำกัด ซื้อ/ขาย ขนส่งเชื้อเพลิงจาก 500 99.99 500 500 -
เศษวัสดุธรรมชาติ
411,450 480,850
เงินลงทุนในบริษัท พลังงานเกษตร จำกัด บันทึกบัญชีตามวิธีส่วนได้เสียและยังมิได้รวมอยู่ในงบการเงินระหว่างกาลรวม ณ วันที่ 31
ธันวาคม พ.ศ. 2542 เนื่องจากบริษัทดังกล่าวยังมิได้ดำเนินกิจการตามปกติและงบการเงินดังกล่าวไม่มีนัยสำคัญ
5 เงินลงทุนในบริษัทย่อย กิจการร่วมค้า บริษัทร่วม และเงินลงทุนระยะยาวอื่น (ต่อ)
รายละเอียดของเงินลงทุนระยะยาวอื่นมีดังต่อไปนี้
ณ วันที่ 30
มิถุนายน พ.ศ. 2543
หมายเหตุ งบการเงิน
งบการเงินรวม ของบริษัทฯ
หลักทรัพย์เผื่อขาย เงินลงทุนทั่วไป หลักทรัพย์เผื่อขาย เงินลงทุนทั่วไป
พันบาท พันบาท พันบาท พันบาท
ตราสารหนี้ - - - -
ตราสารทุน 177,027 37,800 177,027 37,800
บวก การปรับมูลค่าเงินลงทุนตามราคายุติธรรม 928 - 928 -
177,955 37,800 177,955 37,800
เงินจ่ายล่วงหน้าในการเข้าร่วมพัฒนาโครงการ
โรงไฟฟ้าพลังน้ำ น้ำเทิน 2 15(ค) 259,538 259,538
รวมเงินลงทุนระยะยาวอื่น 475,293 475,293
ณ วันที่ 31
ธันวาคม พ.ศ. 2542
งบการเงิน
งบการเงินรวม ของบริษัทฯ
หลักทรัพย์เผื่อขาย เงินลงทุนทั่วไป หลักทรัพย์เผื่อขาย เงินลงทุนทั่วไป
พันบาท พันบาท พันบาท พันบาท
ตราสารหนี้ - - - -
ตราสารทุน 189,189 37,800 89,189 37,800
บวก การปรับมูลค่าเงินลงทุนตามราคายุติธรรม 992 - 992 -
190,181 37,800 190,181 37,800
รวมเงินลงทุนระยะยาวอื่น 227,981 227,981
6 รายจ่ายฝ่ายทุนและภาระผูกพัน
งบการเงินรวม งบการเงินของบริษัทฯ
สำหรับงวดหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 30 มิถุนายน
พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2543
พันบาท พันบาท
ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ สุทธิ
ราคาตามบัญชีต้นงวด สุทธิ 27,271,455 998,016
ซื้อกิจการร่วมค้า 1,763,407 -
ซื้อสินทรัพย์ 228,941 783
การจำหน่ายสินทรัพย์ (362) -
ค่าเสื่อมราคา (846,206) (31,299)
ราคาตามบัญชีสิ้นงวด สุทธิ 28,417,235 967,500
6 รายจ่ายฝ่ายทุนและภาระผูกพัน (ต่อ)
ณ วันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2543 บริษัทย่อยสามแห่งของบริษัทฯ (บริษัท ผลิตไฟฟ้าระยอง จำกัด และบริษัท ผลิตไฟฟ้าขนอม จำกัด
และบริษัท เอ็กคอมธารา จำกัด) และกิจการร่วมค้ามีการจดจำนองที่ดิน อาคาร และจดจำนำอุปกรณ์ของโรงไฟฟ้าตามที่ระบุในสัญญา
Master Agreement เพื่อเป็นหลักทรัพย์ค้ำประกันเงินกู้ยืมระยะสั้นและระยะยาว และหุ้นกู้
ณ วันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2543 กลุ่มบริษัทมีรายจ่ายฝ่ายทุนคงค้างเป็นจำนวนเงิน 224 ล้านบาท (ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2542
จำนวนเงิน 355 ล้านบาท)
7 สินทรัพย์อื่น
ณ วันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2543 สินทรัพย์อื่นประกอบด้วยค่าใช้จ่ายในการพัฒนาโครงการรอตัดบัญชีของบริษัทย่อยสองแห่งของ
กิจการร่วมค้าและเงินทดรองจ่ายแก่บริษัทย่อยแห่งหนึ่งของกิจการร่วมค้าจำนวน 259 ล้านบาท และ 127 ล้านบาท ตามลำดับ
ณ วันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2543 เงินทดรองแก่บริษัทย่อยแห่งหนึ่งของกิจการร่วมค้า เป็นเงินทดรองจ่ายต่างๆ ที่กิจการร่วมค้าได้จ่ายไป
เพื่อโครงการไฟฟ้าแทนบริษัทย่อยดังกล่าวเป็นจำนวน 127 ล้านบาท อย่างไรก็ตาม มูลค่าสุทธิที่อาจได้รับคืนยังไม่มีการสรุประหว่าง
กิจการร่วมค้ากับผู้ถือหุ้นรายอื่นของบริษัทย่อยดังกล่าว ดังนั้น จึงมีความไม่แน่นอนในจำนวนเงินซึ่งจะเรียกคืนได้ และรายการดังกล่าว
ยังไม่ได้ตัดออกจากงบการเงินรวม
8 เงินกู้ยืมระยะยาว
เงินกู้ยืมระยะยาวประกอบด้วยเงินกู้ยืมที่เป็นสกุลเงินบาทและสกุลเงินดอลล่าร์สหรัฐฯ ของบริษัทย่อยของบริษัทฯ และของบริษัทย่อย
แห่งหนึ่งของกิจการร่วมค้า ดังต่อไปนี้
งบการเงิน
งบการเงินรวม ของบริษัทฯ
30 มิถุนายน 31 ธันวาคม 30 มิถุนายน 31 ธันวาคม
พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2542
พันบาท พันบาท พันบาท พันบาท
(ยังมีต่อ)